ประวัติแข่งม้าไทย มาดูประวัติการเล่นพนันแข่งมาในไทย

ประวัติแข่งม้าไทย การศึกษาเรื่อง การพนันแข่งม้าในประเทศไทย ดำเนินการวิจัย โดยใช้วิธีการวิจัยเอกสาร (Documentary Research) และวิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) จากผู้ให้ข้อมูลสำคัญ

(Key Informants) โดยมีคำถามสำคัญว่า การพนันถือเป็นกิจกรรม ที่ผิดกฎหมายสำหรับ ประเทศไทย รัฐไม่อนุญาตให้ มีการเล่นพนัน สำหรับกรณี สนามแข่งม้ารัฐมองว่าเป็น กิจการเสี่ยงโชค โดยรัฐอนุญาต

ให้เล่นได้แต่ต้องการ ควบคุมการเล่น ทั้งมาตรการทางกฎหมาย และมาตรการ ทางจารีตประเพณี จึงทำให้ปริมาณ การใช้บริการสนามแข่งม้า และการพนันแข่งม้าลดลง คำถามสำคัญคือ สนามแข่งม้ามีการปรับตัว

อย่างไร การพนันแข่งม้า มีแนวโน้มอย่างไร เกี่ยวข้องและสัมพันธ์ กับใครบ้าง? จากการศึกษาพบว่า การแข่งม้าในประเทศไทย นั้นมีต้นกำเนิด มาจากสถาบันชั้นสูง โดยจัดตั้งราชกรีฑา สโมสรและราชตฤณมัยสมาคมฯ

ขึ้นในปีพ.ศ. 2444 และปีพ.ศ.2459 ตามลำดับ ในเชิงประวัตศาสตร์ แล้วการจัดแข่งม้า ในประเทศไทย อาจแบ่งออก เป็นสามช่วง คือช่วงแรก เป็นช่วงที่ประเทศ ปกครองแบบ สมบูรณาญาสิทธิราชย์ เกิดขึ้นในช่วง

ติดตามข่าวสารได้เร็วกว่าได้ที่>>>กีฬาขี่ม้า

รวบรวมทุกข่าวสารกีฬาดังไว้ในที่เดียว >>>  ตำนานแข่งม้า

ประวัติแข่งม้าไทย

การแข่งขันขี่ม้ามีมาแต่ช้านานจึงไม่แปลกว่าการแข่งม้าจะเป็นที่นิยม

ประวัติแข่งม้าไทย รัชกาลที่ 5 เมื่อทรงมี พระบรมราชานุญาต ให้ตั้งราชกรีฑาสโมสร หรือสนามฝรั่ง เพื่อเป็น สถานพักผ่อน บันเทิง คบหาสมาคมกัน แต่อยู่ในวงจำกัด แต่เฉพาะชาวต่างชาติ เป็นหลักเท่านั้น ต่อมาในรัชกาลที่ 6 ทรงมี

พระบรมราชานุญาต ให้ตั้งสนามม้านางเลิ้ง ขึ้นเพื่อให้บริการแข่งม้า สำหรับคนไทย ช่วงที่สอง เป็นช่วง การเมืองประชาธิปไตย ขยายตัวทำให้ สนามม้าแข่งขยายตัวไป ตามหัวเมืองสำคัญ ในส่วนภูมิภาค โดยระยะแรก

ของช่วงนี้สนามม้า แข่งส่วนใหญ่ จะตั้งอยู่ในเขตทหาร และบริหารจัดการแข่งขัน โดยกลุ่ม นายทหาร มีอย่างน้อย 6 สนาม ได้แก่ เชียงใหม่ นครราชสีมา อุดรธานี ขอนแก่น มหาสารคาม และร้อยเอ็ด ในระยะต่อมา

เกิดการการ ปรับตัววงการ ธุรกิจม้าแข่ง ด้วยเหตุผลด้าน ความอยู่รอดของ สนามม้าแข่งและกลุ่มผู้จัดทั้ง ในส่วนกลางและ ส่วนภูมิภาค ในช่วงเกิดขึ้นระหว่างปี พ.ศ. 2534-2540 สนามม้าหลายแห่ง ในส่วนภูมิภาค

ถูกเปลี่ยนมือไปทั้งใน แง่ความเป็นเจ้าของและสิทธิ ในการบริหารจัดการบางส่วน ได้ถูกถ่ายโอนให้ภาคเอก ชนบริหารจัดการหรือเป็น เจ้าของสนามไปเลย จนกระทั่งปัจจุบัน สนามม้าแข่งในส่วนภูมิภาค จำแนกออกได้ดังนี้

สนามม้าแข่งนครราชสีมา บริหารจัดการโดย กลุ่มนายทหาร สนามม้าแข่งขอนแก่น บริหารจัดการโดย องค์การบริหารส่วนจังหวัด สนามม้าแข่งอุดรธานีและร้อยเอ็ดบริหารจัดการ โดยภาคเอกชน ส่วนอีกหนึ่งสนามตั้ง

ติดตามรับชมแบบสดๆได้ตลอดเวลา คลิก>>>ดูบอลสด

ประวัติแข่งม้าไทย

การเล่นพนันม้าคือเล่นที่สนุกสนานอย่างมากมายในทุกยุคทุกสมัย

อยู่ในภาคเหนือ คือ จังหวัดเชียงใหม่ บริหารจัดการ โดยกลุ่มนายทหาร โครงสร้างกลุ่มบุคคล ที่เป็นเจ้าของคอกแข่งม้า ในประเทศไทยล้วนเชื่อมโยง สัมพันธ์กันในเชิง อำนาจระหว่างการเมือง -ธุรกิจ-สถานะทางสังคม

โดยมีการแข่งม้า และสนามม้าเป็นสถาน ที่แลกเปลี่ยน ทั้งนี้ จะเห็นได้ว่า เจ้าของคอกม้า ในส่วนภูมิภาคส่วนใหญ่ เป็นสมาชิกกิตติมศักดิ์ และสมาชิกสามัญของสนามม้า นางเลิ้งแทบทั้งสิ้น เช่น คอกเกียรติกมล ของนายเกียรติชัย

ชัยเชาวรัตน์ คอกแคสโก้ ของนายณรงค์ วงศ์วรรณ คอกธำรงไทย ของนายอนุรักษ์ จุรีมาศ คอกประชาชน ของนายอุทัย พิมพ์ใจชน คอกปิยะมงคล ของนายปิยะณัฐ วัชราภรณ์ คอกนาทีทอง ของนายจักริน พัฒน์ดำรงวิจิตร

คอกปาณีรัชต์ ของนายเจริญ พัฒน์ดำรงจิตร คอกเปรมมณี ของนายสุรพันธ์ ชินวัตร และคอกฟูลออฟเลิฟ ของนายปรีชา ชัยรัตน์ เป็นต้น ดังนั้น สนามม้านางเลิ้งไม่เพียงเป็นศูนย์กลางของอำนาจทางเศรษฐกิจ การเมือง

และสังคมที่ร่วมสมัย ของประเทศเท่านั้น แต่ยังถือเป็นศูนย์กลางเชื่อมโยง สนามแข่งม้าเครือข่าย อื่นอีก 7 แห่งอีกด้วย ซึ่งโครงสร้างธุรกิจ แข่งม้าเป็นกิจกรรมของกลุ่มคน เฉพาะกลุ่ม เฉพาะพวกที่ดำเนินการจัดให้มี

การแข่งขันและสืบทอดกิจการนี้ไว้ให้คงดำรงอยู่ภายในกลุ่ม แต่จะมีกลุ่มพ่อค้า- นักธุรกิจเข้ามา เพื่อสร้างสายสัมพันธ์ด้วย เพราะมีเป้าหมายเพื่อสร้างโอกาสทางธุรกิจให้แก่ตน รวมทั้งการคุ้มครอง ในการดำเนินธุรกิจ และกิจกรรมอื่นๆ ผู้วิจัยมองปฏิสัมพันธ์นี้ เป็นการแลกเปลี่ยนผลประโยชน์ ต่างตอบแทนของระบบพวกพ้อง (Cronyism)